รายงานตัวชี้วัด "จุดความร้อนสะสม (2560-2564)"
ที่มา : สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
หมายเหตุ: [1] ภาคเหนือ ใน พ.ศ. 2560-2562 ประกอบด้วย 9 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน และอุตรดิตถ์ ในขณะที่ พ.ศ. 2563-2564 แบ่งออกเป็น ภาคเหนือตอนบน 9 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน และอุตรดิตถ์ และภาคเหนือตอนล่าง 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกำแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และอุทัยธานี [2] ภาคตะวันตก ใน พ.ศ. 2560-2562 ประกอบด้วย 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ตาก ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี และราชบุรี ในขณะที่ พ.ศ. 2563-2564 ประกอบด้วย 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และสุพรรณบุรี [3] ภาคกลาง ใน พ.ศ. 2560-2562 ประกอบด้วย 22 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดกำแพงเพชร ชัยนาท นครนายก นครปฐม นครสวรรค์ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงห์บุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี อ่างทอง และอุทัยธานี ในขณะที่ พ.ศ. 2563-2564 ประกอบด้วย 10 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สมุทรปราการ สระบุรี สิงห์บุรี และอ่างทอง [4] ภาคตะวันออก ใน พ.ศ. 2560-2562 ประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง และสระแก้ว ในขณะที่ พ.ศ. 2563-2564 ประกอบด้วย 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง และสระแก้ว
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัดย่อย
ตัวชี้วัดย่อย | หน่วยนับ | ก่อนหน้า | ล่าสุด | ค่าความต่าง |
---|---|---|---|---|
จุดความร้อนสะสม-ทั้งประเทศ (SOE64) | จุด | 205,288 2563 | 101,869 2564 | -103419 |
จุดความร้อนสะสม-ภาคเหนือ (SOE64) | จุด | 129,328 2563 | 61,776 2564 | -67552 |
จุดความร้อนสะสม-ภาคตะวันตก (SOE64) | จุด | 23,500 2562 | 19,866 2563 | -3634 |
จุดความร้อนสะสม-ภาคกลาง (SOE64) | จุด | 6,857 2563 | 5,032 2564 | -1825 |
จุดความร้อนสะสม-ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (SOE64) | จุด | 40,965 2563 | 21,410 2564 | -19555 |
จุดความร้อนสะสม-ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (SOE64) | จุด | 40,965 2563 | 21,410 2564 | -19555 |
จุดความร้อนสะสม-ภาคตะวันออก (SOE64) | จุด | 6,697 2563 | 3,408 2564 | -3289 |
จุดความร้อนสะสม-ภาคใต้ (SOE64) | จุด | 1,575 2563 | 1,053 2564 | -522 |
1. ตัวเลขห้อย หมายถึง ปีพ.ศ. ของข้อมูลตัวเลขในตัวชี้วัดนั้นๆ
2. การเปลี่ยนแปลง ร้อยละ คำนวณได้จาก = ((ข้อมูลปัจจุบัน - ข้อมูลปีก่อนหน้า) x 100) / ข้อมูลปีก่อนหน้า
จากการติดตามสถานการณ์จุดความร้อนสะสม (Hotspot) โดยอาศัยข้อมูลจากดาวเทียม Suomi NPP ระบบ VIIRS[1] ในช่วงวันที่ 1 มกราคม-31 พฤษภาคม 2564 พบว่า มีจำนวนจุดความร้อนสะสมทั้งประเทศรวมทั้งสิ้น 101,869 จุด ลดลงร้อยละ 50.38 จากช่วงเดียวกันใน พ.ศ. 2563 ที่มีจุดความร้อนสะสม 205,288 จุด โดยพบว่า ปรากฏจุดความร้อนสะสมสูงสุดในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 33,115 จุด รองลงมาคือ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 28,773 จุด พื้นที่เกษตร 20,549 จุด พื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร (สปก.) 10,429 จุด พื้นที่ชุมชนและอื่นๆ 8,111 จุด และพื้นที่ริมทางหลวง (50 เมตร) 892 จุด ตามลำดับ เมื่อพิจารณาเป็นรายภาค พบว่า ภาคเหนือปรากฏจำนวนจุดความร้อนสะสมสูงที่สุด 61,776 จุด รองลงมาคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 21,410 จุด ภาคตะวันตก 9,190 จุด ภาคกลาง 5,032 จุด ภาคตะวันออก 3,408 จุด และภาคใต้ 1,053 จุด ตามลำดับ เมื่อพิจารณาในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พบว่า จุดความร้อนสะสมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ใน พ.ศ. 2560-2562 และมีแนวโน้มลดลงใน พ.ศ. 2563-2564 (สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน), 2564)
[1] ระบบ VIIRS (Visible Infrared Imaging Radiometer Suite: VIIRS) ติดตั้งบนดาวเทียม Suomi NPP
รายการตัวชี้วัดหลัก
-
สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ
-
มูลค่าและอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (2554-2563)
-
รายได้ ค่าใช้จ่าย และภาวะหนี้สินของครัวเรือน (2550-2562)
-
จำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยว (2554-2563)
-
มูลค่าเงินลงทุนจากต่างประเทศที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุน (2554-2563)
-
มูลค่าการนำเข้า-ส่งออก และดุลการค้า (2554-2563)
-
สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini coefficient) ของรายจ่าย (2553-2562)
-
สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini coefficient) ของรายได้ (2553-2562)
-
สถานการณ์ด้านสังคม
-
จำนวนและอัตราการขยายตัวของประชากร (2553-2563)
-
จำนวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงาน (2554-2563)
-
จำนวนผู้ย้ายถิ่นและอัตราการย้ายถิ่น (2554-2563)
-
จำนวนประชากร จำแนกวัยเด็ก วัยแรงงาน และวัยสูงอายุ (2554-2563)
-
ทรัพยากรดินและการใช้ที่ดิน
-
จำนวนเกษตรกรและพื้นที่เพาะปลูกเกษตรอินทรีย์ (2560-2563)
-
ปริมาณการนำเข้าปุ๋ยเคมี (2552-2563)
-
สถานภาพทรัพยากรดิน พ.ศ. 2561
-
ปริมาณการนำเข้าวัตถุอันตรายทางการเกษตร (2552-2563)
-
พื้นที่การสูญเสียดินในประเทศไทย พ.ศ. 2563
-
พื้นที่เกษตรที่เสียหายจากอุทกภัยและภัยแล้ง (2553-2563)
-
ประเภทการใช้ที่ดิน (2551-2561)
-
ทรัพยากรแร่
-
จำนวนการร้องเรียนจากปัญหาผลกระทบการทำเหมืองแร่ (2558-2563)
-
ปริมาณการผลิต การใช้ การนำเข้า และการส่งออกแร่ (2558-2563)
-
จำนวนประทานบัตรแร่ (2559-2564)
-
มูลค่าการผลิต การใช้ การนำเข้า และการส่งออกแร่ (2554-2563)
-
พลังงาน
-
ความยืดหยุ่นของการใช้พลังงานต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (2554-2563)
-
ค่าความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (2552-2563)
-
ปริมาณการใช้พลังงานหมุนเวียน (2551-2563)
-
ปริมาณการใช้พลังงานทดแทน (2551-2563)
-
ปริมาณการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (2554-2563)
-
ปริมาณการนำเข้า (สุทธิ) พลังงานขั้นต้น (2554-2563)
-
สัดส่วนผลิตพลังงานขั้นต้น (2554-2563)
-
ปริมาณการผลิตพลังงานขั้นต้น (2554-2563)
-
ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า
-
พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (2551-2563)
-
พื้นที่ป่าไม้ (2549-2563)
-
พื้นที่ป่าชุมชน (2562-2563)
-
จุดความร้อนสะสม (2560-2564)
-
จำนวนสัตว์ป่าและซากสัตว์ป่าในคดีค้าสัตว์ป่า (2554-2563)
-
คดีและจำนวนผู้กระทำผิดเกี่ยวกับการค้าสัตว์ป่า (2554-2563)
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ (2556-2563)
-
พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติและป่าอนุรักษ์ที่ถูกบุกรุก (2552-2563)
-
จำนวนคดีบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติและป่าอนุรักษ์ (2554-2563)
-
จำนวนครั้งในการดับไฟป่าของกรมป่าไม้ (2560-2564)
-
พื้นที่ถูกไฟไหม้ของกรมป่าไม้ (2560-2564)
-
ทรัพยากรน้ำ
-
ความเสียหายจากภัยแล้ง (2554-2563)
-
ความเสียหายจากอุทกภัย (2554-2563)
-
การจัดสรรน้ำในช่วงฤดูแล้ง (2561-2564)
-
การจัดสรรน้ำในช่วงฤดูฝน (2561-2564)
-
ความต้องการใช้น้ำ (2560-2563)
-
ปริมาณน้ำบาดาลที่กักเก็บ (2561-2563)
-
ปริมาณน้ำบาดาลที่ใช้ได้อย่างปลอดภัย (2561-2563)
-
ปริมาณน้ำเก็บกักในอ่างขนาดกลางและใหญ่ (2552-2564)
-
ปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยทั้งปี (2558-2563)
-
การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ พ.ศ. 2563 (Integrated Water Resource Management; IWRM)
-
ปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งปี (2556-2563)
-
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สัตว์ทะเลหายากเกยตื้น (2555-2563)
-
พื้นที่กัดเซาะชายฝั่ง (2560-2562)
-
พื้นที่แนวปะการัง (2555-2563)
-
พื้นที่แหล่งหญ้าทะเล (2561-2563)
-
พื้นที่ป่าชายเลนคงสภาพ (2539-2563)
-
ปริมาณสัตว์น้ำเค็ม (2554-2563)
-
ปริมาณการจับสัตว์น้ำต่อหน่วยลงแรงประมง (2551-2563)
-
ความหลากหลายทางชีวภาพ
-
ชนิดพันธุ์สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคาม (2559-2563)
-
ชนิดพันธุ์พืชในประเทศไทยที่ถูกคุกคาม (2558-2564)
-
คุณภาพอากาศ
-
ปริมาณก๊าซโอโซน (O3) (2553-2563)
-
ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) (2553-2563)
-
ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) (2554-2563)
-
คุณภาพเสียง
-
ระดับเสียง (2554-2563)
-
คุณภาพน้ำ
-
คุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง (2552-2563)
-
คุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (2552-2563)
-
ขยะมูลฝอย
-
จำนวนสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชนที่เปิดดำเนินการถูกต้อง (2559-2563)
-
จำนวนสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชน (2560-2563)
-
ขยะมูลฝอย (2553-2563)
-
ของเสียอันตราย
-
มูลฝอยติดเชื้อ
-
สารอันตราย
-
ปริมาณการนำเข้าสารอันตรายภาคอุตสาหกรรม (2554-2563)
-
สิ่งแวดล้อมชุมชน
-
จำนวนชุมชนแออัดในกรุงเทพมหานคร (2555-2563)
-
จำนวนและสัดส่วนประชากรในเขตเมือง (2553-2563)
-
การร้องเรียนมลพิษ อุบัติภัย และเหตุฉุกเฉินจากสารเคมี
-
การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
-
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก
-
ภัยพิบัติและผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
-
ระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
-
การบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดล้อม